บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2023

พลังจิตภายในตัวมนุษย์ ขุมทรัพย์มหาศาล เปลี่ยนชีวิตรวดเร็ว I วิทยาศาสตร์กับชีวิตคนขับเคลื่อน โดย จิตใต้สำนึก (unconscious mind) 95%

รูปภาพ
  วิทยาศาสตร์กับชีวิตคนขับเคลื่อนด้วยจิตใต้สำนึก ดร.บรูซ ลิปตัน (Dr.Bruce Lipton) ศาสตราจารย์ชีววิทยาผู้เชี่ยวชาญด้านเซลล์ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด พูดถึงการทำงานของ  จิตสำนึก (conscious mind)  และ  จิตใต้สำนึก (unconscious mind)  โดยบอกว่า “จิตสำนึก” คือ ส่วนที่คิดเพื่อสร้างไอเดียใหม่ออกมาจากกล่องเดิม แต่ “จิตใต้สำนึก” จะทำงานผ่านโปรแกรมที่ถูกกำหนดไว้ เหมือนซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เต็มไปด้วยฐานข้อมูลพฤติกรรมที่เก็บไว้ ซึ่งส่วนใหญ่ถูกกำหนดไว้ก่อนอายุ 6 ขวบ จิตใต้สำนึกควบคุม 95% ของกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ขณะที่จิตสำนึกควบคุมเพียง 5% เท่านั้น ซึ่งที่จริง 5% นั่นเป็นระดับของพวกคนที่ตื่นตัวในการใช้ชีวิต แต่คนส่วนใหญ่ทำงานด้วยจิตสำนึกเพียงแค่ 1% นี่คือเหตุผลที่ความคิด การตัดสินใจ อารมณ์ ความรู้สึก และการกระทำส่วนใหญ่ของชีวิตเราถูกตอบสนองตามโปรแกรมอัตโนมัติ (หรือที่เราเรียกว่า ตามสัญชาตญาณ) ดร. ลิปตันยังกล่าวอีกว่า จิตใต้สำนึกประมวลผมข้อมูลด้วยความเร็ว 40 ล้านบิตต่อวินาที ในขณะที่ จิตสำนึกประมวลผลที่ความเร็วเพียง 40 บิตต่อวินาที หมายความว่า จิตใต้สำนึกส่งผ่า...

จิตสำนึกกับจิตใต้สำนึก คืออะไร จิตใต้สำนึกมีอิทธิพลต่อชีวิตเราอย่างไร? นึกถึงแบบจำลองภูเขาน้ำแข็ง

รูปภาพ
  ประวัติเวอร์จิเนีย ซะเทียร์ (Virginia Satir) เวอร์จิเนีย ซาเทียร์ (Virginia Satir 1916-1988) นักเขียน ครู และนักจิตบำบัดอเมริกัน ผู้บุกเบิกแนวคิดจิตบำบัดครอบครัว ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น Mother of Family Therapy หรือ มารดาแห่งจิตบำบัดครอบครัว เสนอกรอบคิดอันโด่งดัง เช่น ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง (Virginia Satir Change Process Model), ทฤษฎีเกราะป้องกันตนเพื่อความอยู่รอด (Survival Coping Stances), แบบจำลองภูเขาน้ำแข็ง (The Iceberg Model) เวอร์จิเนีย ซะเทียร์ (Virginia Satir) เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1916 ในเมืองเนียลส์วิลล์ (Neillsville) รัฐวิสคอนซิน (Wisconsin) ประเทศสหรัฐอเมริกา มีชีวิตอยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1916-1988 และเสียชีวิตในวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1988 เมื่ออายุ 72 ปี ซะเทียร์ เริ่มทำงานเพื่อสังคมในปี ค.ศ. 1950 ด้วยการบำบัดครอบครัวผู้ที่เป็นมารดาคนใหม่ และในปี ค.ศ. 1959 ซะเทียร์ ได้เข้าร่วมเป็นคณะทำงานของสถาบัน เอ็ม อาร์ ไอ (Mentral Resarch Institute: MRI) งานหลักของสถาบัน เอ็ม อาร์ ไอ (MRI) คือทำวิจัยด้านการ สร้างปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวกับสุขภาพ และความเจ็บป่วยของสมาชิกครอบครัว ต่อมาในระหว่าง...